วันเสาร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 10

 


เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์



เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา 

เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา สูงที่สุดของชีวิต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหา เหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหา

ได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว




การกระตุ้นให้เด็กปฐมวัยได้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นั้น

ควรจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เป็นกระบวนการขั้นพื้นฐาน หรือทักษะเบื้องต้นที่ควรส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา มี 7 กระบวนการ

คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการวัด ทักษะการสื่อความหมาย 

ทักษะการลงความเห็น ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา และทักษะการคำนวณ





วันอาทิตย์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 9

 


บันทึกครั้งที่ 9

วัน ศุกร์ ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30 - 12:30 น.


อาจารย์ได้เเจกกระดาษ 2 ชิ้น ความกว้างประมาณ 2 เซนติเมตร 
สามารถออกเเบบลวดลายได้ ตามความต้องการ
เเล้วให้ออกเเบบของเล่นที่สามารถลอยขึ้นได้ โดนเเต่ละกลุ่มห้ามซ้ำกัน 

กลุ่มของเราได้ทำเป็น ลูกยาง ที่ไม่สามารถลอยเเละหมุนได้เนื่องจากได้รับกระดาษที่หนาเกินไป




ได้เเจกกระดาษ A4 ที่ตัดเตรียมไว้ให้ คนละ 1 แผ่น และ คลิบหนีบกระดาษ 1 ตัว
 ได้รับโจทย์ให้ทำเป็นลูกยาง ที่สามารถ หมุนลงมาได้ช้าที่สุด ลูกยางจะหมุนช้า หรือ เร็ว อยู่ที่ ปีกเเละลำ 



ต่อมาได้ ให้นำถาดไปใส่น้ำ เเละเเจกดินน้ำมันก้อนเล็กๆ คนละ 1 ก่อน 
เเละให้ปั้นเป็นทรงกลมๆโจทย์ คือ ทำอย่างไรก็ได้ให้ดินน้ำมันที่เเบ่งไว้ สามารถลอยบนน้ำได้ 



ผลงานของกลุ่มเรา ที่สามารถทำให้ ดินน้ำมันลอยน้ำได้



คำศัพท์
       
           1. Experiment การทดลอง
           2. Change             การเปลี่ยนเเปลง
           3. Plasticine ดินน้ำมัน
           4. Mobile การเคลื่อนที่
           5. Vision                การมองเห็น



 การประเมิน

          ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนเเละประดิษฐ์ของเล่น
          ประเมินเพื่อน : เพื่อนช่วยกันทำของเล่น
          ประเมินอาจารย์ : อาจารย์พูดอธิบายได้ค่อนข้างชัดเจน 





วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 8


บันทึกครั้งที่ 8

วัน ศุกร์ ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30 - 12:30 น.

                                                       ได้รับความรู้จากวิดีโอ เรื่อง น้ำ


จากดูวิดีโอสรุปออกมาได้ดังนี้ตามภาพด้านบน



มอบหมายงานให้ออกเเบบของเล่นตามมุมที่เกี่ยวกับน้ำ
กลุ่ม 5 คนกลุ่มเราเลือกทำเป็นกังหันน้ำ โดยไม่ใช่พลังาน



คำศัพท์
       
            1. Experiment         ทดลอง
           2. Change               การเปลี่ยนเเปลง
           3. Environment      สิ่งเเวดล้อม
           4. Science              วิทยาศาสตร์
           5. Water wheel กังหันน้ำ

 การประเมิน

          ประเมินตนเอง : ตั้งใจคิดสิ่งประดิษฐ์
          ประเมินเพื่อน : เพื่อนช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี
          ประเมินอาจารย์ : อาจารย์พูดอธิบายได้ค่อนข้างชัดเจน 


วันศุกร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 7

 

บันทึกครั้งที่ 7

วัน พุธ ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ชดเชย ของ วัน ศุกร์ ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2563


มอบหมายงานที่ 1 ให้วาดเกี่ยวกับ เเหล่งน้ำที่มีชื่อเสียง 

โดยจับกลุ่ม 5 คน เเละ เลือกมา 1 สถานที่กลุ่มของฉันเลือกวาดเป็น เเม่น้ำเเคว 

อยากลองให้เพื่อนๆสังเกตเเละทายว่าสิ่งใดบ่งบอกว่า คือเเม่น้ำเเคว

สิ่งที่บ่งบอก นั่นก็คือ มีสะพาน มีเเพ เเละรถไฟ 
 



มอบหมายงานที่ 2 ให้ออกเเบบสไลเดอร์ ที่สามารถกลิ้ง ลูกบอลลงมาได้ช้าที่สุด

โดยมีการสร้างสไลเดอร์จากหลอด ได้เเจกหลอดให้เเต่ละกลุ่มเท่าๆกัน 

เมื่อสร้างเสร็จ ได้ทำสไลเดอร์ มากลิ้งลูกบอลเเข่งกัน โดยใช้เกณฑ์ นาน เเละ ช้า




มอบหมายงานที่ 3 ให้ตัดกระดาษเป็นรูปดอกไม้ เเละพับไม่ต้องเเน่นมาก

 เเละนำไปลอยในน้ำ จะเห็นได้ว่า ดอกไม้คอยๆบานออก ที่บานออกได้นั้น

ก็เป็นเพราะว่า กระดาษนั้นมีรูพรุน เเละน้ำเข่าไปเเทรกตัวอยู่ จึงทำให้กระดาษอ่อน 

เเละค่อยๆบานในที่สุด


หลังจากทำกิจกรรมเเหล่งน้ำ
ความรู้ที่ได้รับ 
          เเหล่งน้ำเเต่ละที่มีความเเตกต่างกัน มีชื่อเรียกเเตกต่างกัน ทั้งที่สร้างขึ้น เเละ ธรรมชาติสร้างขึ้น ยังมีจุดเด่นเเละเอกลักษณ์ที่ต่างกันอีกด้วย เเหล่งน้ำมีประโยชน์หลายอย่าง ทั้งด้านอาชีพค้าขาย การเล่นสนุก กับสไลเดอร์ ที่สร้างขึ้นในเเหล้งที่มีน้ำ


ทักษะที่ได้รับ
         ทักษะการสังเกต สังเกตจากภาพเเหล่งน้ำที่เพื่อนๆวาด จากจุดเด่นของเเต่ละสถานที่
         ทักษะการคิดการวางแผน คิดวางเเผนในการทำสไลเดอร์อย่างไรลูกบอลถึงจะกลิ้งช้าที่สุด
         ทักษะในการให้เหตุผล สไลเดอร์สูงลูกบอลกลิ้งเร็ว ดังนั้น ลูกบอลกลิ้งช้าสไลเดอร์ต้องต่ำ


วิทยาศาสตร์   
         ระดับสูง-ต่ำของสไลเดอร์ ความเสียดทานของพื้นผิวหลอดเวลาลุกบอลกลิ้งผ่าน 

            

       

คณิตศาสตร์

         เรื่องจำนวน  จำนวนของหลอดที่อาจารย์เเบ่งให้เเต่ละกลุ่ม 

         เรื่องการวัด   วัดความยาว รวมไปถึงการจับเวลาขณะลูกบอลกลิ้ง



เทคโนโลยี

          อุปกรณ์  ให้ความสะดวกสบายในการติด สก๊อตเทป



วิศวกรรม

         การออกแบบที่มีออกเเบบ วางเเผน อย่างมีเป้าหมาย ก่อนลงมือทำจริง





คำศัพท์
       
            1. Engineering วิศวกรรม
           2. Lay วางเเผน
           3. Point จุดเด่น
           4. Science           วิทยาศาสตร์
           5. Vision              การมองเห็น

 การประเมิน

          ประเมินตนเอง : ตั้งใจวางเเผนทำสไลเดอร์
          ประเมินเพื่อน : เพื่อนช่วยกันทำงาน คิด เเก้ปัญญา
          ประเมินอาจารย์ : อาจารย์พูดอธิบายได้ค่อนข้างชัดเจน ในการออกเเบบสไลเดอร์


วันศุกร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 6



 บันทึกครั้งที่ 6

วัน ศุกร์ ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08:30 - 12:30 น. 

     ของเล่นวิทยาศาสตร์ ชื่อ ปืนไกล

                     อุปกรณ์

          - ขวดน้ำอัดลม

          - เชือก

         - หนังยาง 

         - ของตกเเต่ง ต่างๆ นานา 

                    วิธีการทำ

          - นำขวดน้ำอัดลมมาตัด เเละใช้ฝั่งปากขวด

          - เมื่อได้ฝั่งปากขวดเเล้ว น้ำมาตัดเป็น 4 เเฉก โดยห่างเท่าๆกัน

          - นำหนังยางมาใส่ในแฉกที่เราตัดไว้ ในรูปเเบบการไขว่กัน

          - นำเชือกมามัด ที่จุดกึ่งกลางของหนังยาง โดยเชือกต้องยางกว่าขวด

          - ตกเเต่งให้สวยงาม พร้อมเล่น


คำศัพท์
       
           1. Experiment       ทดลอง
           2. Change              การเปลี่ยนเเปลง
           3. Environment     สิ่งเเวดล้อม
           4. Science              วิทยาศาสตร์
           5. Vision                การมองเห็น

 การประเมิน

          ประเมินตนเอง : ตั้งใจทำของเล่นวิทศาสตร์
          ประเมินเพื่อน : เพื่อนช่วยกันทำงาน
          ประเมินอาจารย์ : อาจารย์พูดอธิบายได้ค่อนข้างชัดเจน 


บันทึกครั้งที่ 5



 บันทึกครั้งที่ 5

วัน ศุกร์ ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2563 เวลา 08:30 - 12:30 น. 


เเผนการสอนวิทยาศาสตร์ เรื่องไข่

อาจารย์ได้มอบหมายให้ทำงาน เกี่ยวกับเเผนการสอน โดยให้กำหนดหัวข้อขั้นมา 1 เรื่อง

โดยมีการจับกลุ่ม 5 คน การทำงานในครั้งที่ เพื่อนๆให้ความรวมมือเป็นอย่างดี 

มีความสามัคคีในการทำงาน การที่ได้ทำงานในรูปเเบบนี้ถือเป็นการทำงานที่ค่อนข้างดี

กลุ่มของเรา ได้ให้เด็กๆพูดชื่อ ไข่ที่เด็กๆ รู้จัก มีทั้ง ไข่นกกระทา ไข่ไก่ ไข่เป็ด 

 เเละมีในรูปเเบบไข่เเปรรูปเเล้วนั่นก็คือ ไข่เฉี่ยวม้า เเละไข่เค็ม ส่วนการจัดประสบการณ์นั้น

 เด็กเเละครูได้ทดลองการทำไข่เค็มด้วยตัวเอง


คำศัพท์

   1. Listening  การฟัง
   2. Processing   การเเปรรูป
   3. Experience arrangement  การจัดประสบการณ์
   4. Cooperation   ความร่วมมือ
   5. Meaning  ความหมาย



 การประเมิน

          ประเมินตนเอง : ตั้งใจฟัง พร้อมกับตั้งใจทำงาน
          ประเมินเพื่อน : เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำงาน 
          ประเมินอาจารย์ : อาจารย์พูดอธิบายได้ชัดเจน 



วันศุกร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2563

บันทึกครั้งที่ 4

                      Welcome word png 3 » PNG Image    





                       

บันทึกครั้งที่ 4

วัน ศุกร์ ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เวลา 08:30 - 12:30 น. 

ไขปริศนาโลกวิทยาศาสตร์กับการทดลองประหลาด 'เทียนไขดูดน้ำ' - bectero.tv

การทดลองเทียนไขดูดน้ำ

ขั้นตอนที่ 1 ให้เด็กๆทายหรือบอกชื่ออุปกรณ์ที่เราเตรียมมา เมื่อเด็กๆพูด                                        เราจะวางเรียงจากซ้ายไปขวาของเด็ก เเละ ขวาไปซ้ายของคุณครู

ขั้นตอนที่ 2  สาธิตการทดลองให้เด็กๆดู เริ่มจากการจุดเทียนเเละตั้งลงบนจาน                                  ขออาสาสมัคร ออกมาช่วยคุณครูเทน้ำลงบนจาน ตามด้วยการนำเเก้ว                            มาครอบเทียน

ขั้นตอนที่ 3  เเต่ก่อนจะครอบเเก้ว คุณครูจะต้องถามเด็กๆว่า 'ถ้าคุณครูครอบเเก้ว                               ลงบนเทียน เด็กๆคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น' 

ขั้นตอนที่ 4 คุณครูครอบเเก้วลงบนเทียน จากนั้นเทียนที่อยู่ข้างในเเก้วเริ่มดับ                                    เมื่อเทียนดับ น้ำจึงเคลื่อนที่เข้าไปภายในเเก้ว

ขั้นตอนที่ 5 คุณครูถามเด็กๆว่า เมื่อครอบเเก้วลงบนเทียนเเล้วเกิดอะไรขึ้น                                          ตรงกับที่เด็กๆคิดไว้หรือเปล่า เด็กสังเกตเห้นอะไร มีอะไรเปลี่ยนเเปลง

ขั้นตอนที่ 6  ที่น้ำเข้าไปในเเก้วได้ เกิดจากการที่ก๊าซออกซิเจนถูกใช้ในการเผาไหม้                        ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นมาหลังจากนั้นความดันอากาศที่                             อยู่ในแก้วจะลดน้อยลง ความดันอากาศจากนอกแก้วก็จะดันนํ้าเข้ามา                             ในแก้ว

                                 

คำศัพท์
       
           1. Experiment การทดลอง
           2. Change             การเปลี่ยนเเปลง
           3. Taper เทียนไข
           4. Mobile การเคลื่อนที่
           5. Vision                การมองเห็น



 การประเมิน

          ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียน ได้พูดเเละคิดคำตอบ
          ประเมินเพื่อน : เพื่อนค่อนข้างตั้งใจเรียน 
          ประเมินอาจารย์ : อาจารย์พูดอธิบายได้ค่อนข้างชัดเจน 



บันทึกครั้งที่ 10

  เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์ เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา  เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา สูงที่สุ...